ข้อดี
1. เป็นพลังงานทดแทนที่สะอาด ไม่ทำลายสภาวะแวดล้อม
2. เป็นพลังงานที่ไม่มีมลพิษ ทั้งทางอากศ และ ทางเสียง
3. เหมาะกับ พื้นที่ ที่ไฟฟ้าเข้าไม่ถึง เพราะติดตั้งง่าย
4. เป็นพลังงานทางเลือกนึงที่ไม่มีวันใช้หมด
5. ช่วย ลด สภาวะโลกร้อน
ข้อด้อย
1. ถ้าต้องการกำลังการผลิตมากต้งใ้ช้พื้นที่ในกาติดตั้งมาก
2. ต้นทุนต่อหน่วยการผลิตสูง
3. สามารถใช้พลังงานนี้ได้ ต่อเมื่อมีแสงอาทิตย์
ระบบทาความเย็นด้วยพลังงานแสงอาทิตย์

ระบบทาความเย็นด้วยพลังงานแสงอาทิตย์
หลักการทางาน คือ ใช้ความร้อนจากแสงของดวงอาทิตย์ ไปทาให้สารภายในระบบ เกิดการเปลี่ยนสถานเป็นไอ หลังจากนั้น นาไอที่ได้ไปผ่านกระบวนการลดแรงดันและอุณภูมิ มี2แบบที่ได้รับความนิยม คือ
1. ระบบทำความเย็นแบบดูดกลืน Absorpber
เครื่องทาความเย็นแบบดูดกลืนนิยมใช้สารทางานอยู่สองชนิดคือ ลิเทียมโบไมด์กับน้า (LiBr/H2O) และ แอมโมเนียกับน้า (NH3/H2O)เครื่องทาความเย็นแบบดูดกลืนมีส่วนประกอบหลักอยู่ 4 ส่วนประกอบด้วย เจนเนอเรเตอร์ (Generator) คอนเดนเซอร์ (Condenser) อีวาพอเรเตอร์ (Evaporator) และ แอบซอบเบอร์(Absorber)โดยปกติเครื่องทาความเย็นแบบดูดกลืนที่ใช้สารทางานเป็นลิเทียมโบรไมด์น้าจะใช้อุณหภูมิประมาณ 70 – 100oC และค่า COP อยู่ระหว่าง 0.6 ถึง 0.8 ส่วนเครื่องทาความเย็นแบบดูดกลืนชนิดวัฏจักรเดี่ยวที่ใช้สารทางานเป็นแอมโมเนียกับน้าต้องการอุณหภูมิของน้าร้อนประมาณ 130 – 180 oC ค่า COP ประมาณ 1.2
การทางานของระบบที่ใช้สารทางานลิเทียมโบรไมด์กับนา เริ่มจากเมื่อป้อนความร้อนให้กับเครื่องทาความเย็นในส่วนของเจนเนอเรเตอร์ (Generator) ความร้อนก็จะถูกดูดกลืนด้วยสารทางานคือ ลิเทียมโบรไมด์กับน้า เมื่อสารคู่ทางานดูดกลืนความร้อนน้าก็จะระเหยกลายเป็นไอที่ความดันสูงและอุณหภูมิสูง ผ่านไปที่คอนเดนเซอร์ บริเวณคอนเดนเซอร์เป็นบริเวณที่ถ่ายเทความร้อนออกจากระบบ เมื่อไอน้าที่ความดันสูงถูกถ่ายเทความร้อนออกก็จะเปลี่ยนสถานะเป็นของเหลว และถูกปั้มผ่านไปยังวาล์ว (Expansion Valve) เพื่อลดความดัน เมื่อน้าถูกลดความดันส่งผลให้อุณหภูมิลดลงตาม จากนั้นน้าก็จะเปลี่ยนสถานะเป็นสองเฟสประกอบด้วยไอน้าและน้าที่เป็นของเหลวและมีอุณหภูมิต่าผ่านไปที่อีวาพอเรเตอร์ ที่อีวาพาเตอร์ก็จะเกิดการแลกเปลี่ยนความร้อนระหว่างสารทางาน (coolant) คือน้ากับความร้อนภายในห้อง ความร้อนภายในห้องก็จะถูกถ่ายเทให้กับน้าจากนั้นก็จะถูกปั๊มไปยัง Absorber ที่ส่วนนี้น้าเมื่อดูดความร้อนจากห้องก็จะไปรวมกับลิเทียมโบรไมด์ความร้อนส่วนหนึ่งก็จะถูกถ่ายเทออกไปทิ้ง จากนั้นสารคู่ทางานก็จะถูกปั๊มไปยังเจนเนอเรเตอร์ (Generator) อีกครั้งแล้วการทางานก็จะวนรอบ
.jpg)
2. ระบบทำความเย็นแบบดูดซับ (Adsorption Chiller)
เครื่องทาความเย็นแบบดูดซับแตกต่างจากเครื่องทาความเย็นแบบดูดกลืน คือ เครื่องทาความเย็นแบบดูดซับใช้สารดูดซับที่เป็นของแข็ง และ ส่วนประกอบหลักของเครื่องทาความเย็นแบบดูดซับจะ ประกอบด้วย
1.อีแวปเปอร์เรเตอร์ ทำหน้าที่ดึงความร้อนออกจากห้องเย็น
2.คอนเดนเซอร์ ทำหน้าที่ระบายความร้อนออกสู่สภาวะภายนอก
3.เจนเนอเรเตอร์ ทำหน้าที่ถ่ายเทความร้อนจากแหล่งพลังงานความร้อน ทำให้สารทำความเย็นกลายสถานะป็นไอ
4.แอบซอบเบอร์ ทำหน้าที่ดูดซึมสารทำความเย็นในสถานะไอ ที่ไหลออกมาจากอีแวบเปอร์เรเตอร์ให้กลายเป็นของเหลวในรูปของสารละลาย
5. ปั้มสารเคมี ทำหน้าที่หมุนเวียนสารทำความเย็น และสร้างความดันให้แก่ระบบ
ความร้อนจากแหล่งพลังงานความร้อนจ่ายให้กับ Denoted1 ส่วน Cooling Tower เชื่อมต่ออยู่กับ Denote 2 สารคู่ทางานที่ใช้ในเครื่องทาความเย็นแบบดูดซับ (Adsorption Chiller) ที่มีการใช้งานจริงในตลาดการทาความเย็นด้วยเครื่องทาความเย็นแบบดูดซับมีเพียงชนิดเดียวคือ Water/Silicagel สามารถทางานได้ที่อุณหภูมิระหว่าง 60 –70 o C
ข้อแตกต่างหลักระหว่างวัฏจักรทำความเย็นแบบดูดซึมกับวัฏจักรทำความเย็นแบบอัดไอ มีอยู่ 2 ประการคือ
1. จะใช้ตัวเจนเนอเรเตอร์และตัวแอปซอบเบอร์ทำหน้าที่ให้สารทำความเย็นในสถานะ ไอ ไหลในวัฏจักรแทนการใช้เครื่องอัดไอในวัฏจักรทำความเย็นแบบอัดไอโดยทั่วไป
2. พลังงานที่ใช้ในตัวเจนเนอเรเตอร์และตัวแอบซอบเบอร์จะอยู่ในรูปของพลังงาน ความร้อน ต่างจากเครื่องอัดไอที่ต้องใช้พลังงานกลในระบบทำความเย็นแบบอัดไอ
เห็นได้ว่าวัฏจักรการทำความเย็นแบบดูดซึมต้องการพลังงานในรูปแบบพลังงานความ ร้อน จึงมีความเหมาะสมที่จะใช้กับแหล่งพลังงานความร้อนเช่นพลังงานแสงอาทิตย์ ความร้อนเหลือทิ้งหรือพลังงานความร้อนใต้พิภพ เป็นต้น
การอบแห้งด้วยพลังงานแสงอาทิตย์
การอบแห้งด้วยพลังงานแสงอาทิตย์ แบ่งออกเป็น 3 แบบ คือ

1. การอบแห้งระบบ Passive คือ ระบบที่เครื่องอบแห้งทางานโดยอาศัยพลังงานแสงอาทิตย์และกระแสลมที่พัดผ่าน ได้แก่
เครื่องตากแห้งโดยธรรมชาติ เป็นการวางวัสดุไว้ที่กลางแจ้ง อาศัยความร้อนจากแสงอาทิตย์และกระแสลมในบรรยากาศในการระเหยความชื้นออกจากวัสดุ
ตู้อบแห้งแบบได้รับแสงอาทิตย์โดยตรง วัสดุที่อบจะอยู่ในเครื่องอบแห้งที่ประกอบด้วยวัสดุที่โปร่งใส ความร้อนที่ใช้อบแห้งได้มาจากการดูดกลืนพลังงานแสงอาทิตย์ และอาศัยหลักการขยายตัวเอง อากาศร้อนภายในเครื่องอบแห้งทาให้เกิดการหมุนเวียนของอากาศเพื่อช่วยถ่ายเทอากาศชื้น
ตู้อบแห้งพลังงานแสงอาทิตย์แบบผสม เครื่องอบแห้งชนิดนี้วัสดุที่อยู่ภายในจะได้รับความร้อน 2 ทาง คือ ทางตรงจากดวงอาทิตย์และทางอ้อมจากแผงรับรังสีดวงอาทิตย์ ทาให้อากาศร้อนก่อนที่จะผ่านวัสดุอบแห้ง

2. การอบแห้งระบบ Active คือ ระบบอบแห้งที่มีเครื่องช่วยให้อากาศไหลเวียนในทิศทางที่ต้องการ เช่น จะมีพัดลมติดตั้งในระบบเพื่อบังคับให้มีการไหลของอากาศผ่านระบบ พัดลมจะดูดอากาศจากภายนอกให้ไหลผ่านแผงรับแสงอาทิตย์เพื่อรับความร้อนจากแผงรับแสงอาทิตย์ อากาศร้อนที่ไหลผ่านพัดลมและห้องอบแห้งจะมีความชื้นสัมพัทธ์ต่ากว่าความชื้นของพืชผล จึงพาความชื้นจากพืชผลออกสู่ภายนอกทาให้พืชผลที่อบไว้แห้งได้

3. การอบแห้งระบบ Hybrid คือระบบอบแห้งที่ใช้พลังงานแสงอาทิตย์และยังต้องอาศัยพลังงานในรูปแบบอื่นๆ ช่วยในเวลาที่มีแสงอาทิตย์ไม่สม่าเสมอหรือต้องการให้ผลิตผลทางการเกษตรแห้งเร็วขึ้น เช่น ใช้ร่วมกับพลังงานเชื้อเพลิงจากชีวมวล พลังงานไฟฟ้า วัสดุอบแห้งจะได้รับความร้อนจากอากาศร้อนที่ผ่านเข้าแผงรับแสงอาทิตย์ และการหมุนเวียนของอากาศจะอาศัยพัดลมหรือเครื่องดูดอากาศช่วย

1. การอบแห้งระบบ Passive คือ ระบบที่เครื่องอบแห้งทางานโดยอาศัยพลังงานแสงอาทิตย์และกระแสลมที่พัดผ่าน ได้แก่
เครื่องตากแห้งโดยธรรมชาติ เป็นการวางวัสดุไว้ที่กลางแจ้ง อาศัยความร้อนจากแสงอาทิตย์และกระแสลมในบรรยากาศในการระเหยความชื้นออกจากวัสดุ
ตู้อบแห้งแบบได้รับแสงอาทิตย์โดยตรง วัสดุที่อบจะอยู่ในเครื่องอบแห้งที่ประกอบด้วยวัสดุที่โปร่งใส ความร้อนที่ใช้อบแห้งได้มาจากการดูดกลืนพลังงานแสงอาทิตย์ และอาศัยหลักการขยายตัวเอง อากาศร้อนภายในเครื่องอบแห้งทาให้เกิดการหมุนเวียนของอากาศเพื่อช่วยถ่ายเทอากาศชื้น
ตู้อบแห้งพลังงานแสงอาทิตย์แบบผสม เครื่องอบแห้งชนิดนี้วัสดุที่อยู่ภายในจะได้รับความร้อน 2 ทาง คือ ทางตรงจากดวงอาทิตย์และทางอ้อมจากแผงรับรังสีดวงอาทิตย์ ทาให้อากาศร้อนก่อนที่จะผ่านวัสดุอบแห้ง
2. การอบแห้งระบบ Active คือ ระบบอบแห้งที่มีเครื่องช่วยให้อากาศไหลเวียนในทิศทางที่ต้องการ เช่น จะมีพัดลมติดตั้งในระบบเพื่อบังคับให้มีการไหลของอากาศผ่านระบบ พัดลมจะดูดอากาศจากภายนอกให้ไหลผ่านแผงรับแสงอาทิตย์เพื่อรับความร้อนจากแผงรับแสงอาทิตย์ อากาศร้อนที่ไหลผ่านพัดลมและห้องอบแห้งจะมีความชื้นสัมพัทธ์ต่ากว่าความชื้นของพืชผล จึงพาความชื้นจากพืชผลออกสู่ภายนอกทาให้พืชผลที่อบไว้แห้งได้
3. การอบแห้งระบบ Hybrid คือระบบอบแห้งที่ใช้พลังงานแสงอาทิตย์และยังต้องอาศัยพลังงานในรูปแบบอื่นๆ ช่วยในเวลาที่มีแสงอาทิตย์ไม่สม่าเสมอหรือต้องการให้ผลิตผลทางการเกษตรแห้งเร็วขึ้น เช่น ใช้ร่วมกับพลังงานเชื้อเพลิงจากชีวมวล พลังงานไฟฟ้า วัสดุอบแห้งจะได้รับความร้อนจากอากาศร้อนที่ผ่านเข้าแผงรับแสงอาทิตย์ และการหมุนเวียนของอากาศจะอาศัยพัดลมหรือเครื่องดูดอากาศช่วย
การใช้พลังงานแสงอาทิตย์เพื่อผลิตความร้อน
การผลิตน้ำร้อนด้วยพลังงานแสงอาทิตย์แบ่งออกเป็น 3 ชนิด
1.การผลิตน้ำร้อนชนิดไหลเวียนตามธรรมชาติ
เป็นการผลิตน้ำร้อนชนิดที่มีถังเก็บอยู่สูงกว่าแผงรับแสงอาทิตย์ ใช้หลักการหมุนเวียนตามธรรมชาติ
ชนิดไหลเวียนตามธรรมชาติ (Thermosiphon system) เป็นชนิดที่มีถังเก็บอยู่สูงกว่าแผงรับแสงอาทิตย์ ใช้หลักการหมุนเวียนตามธรรมชาติ เมื่อน้ำได้รับความร้อนจากแสงอาทิตย์จะมีความหนาแน่นน้อยลงจึงไหลขึ้นสู่ ด้านบนของถังน้ำเย็นจึงไหลเข้ามาแทนที่ เหมาะสำหรับการใช้ในที่อยู่อาศัย หรือมีปริมาณการใช้ไม่สูงมากนัก

2.การผลิตน้ำร้อนชนิดใช้ปั๊มน้ำหมุนเวียน
เหมาะสำหรับการใช้ผลิตน้ำร้อนจำนวนมาก และมีการใช้อย่างต่อเนื่อง
ชนิดใช้ปั๊มน้ำหมุนเวียน (Force circulation )
ชนิดใช้ปั๊มน้ำหมุนเวียน (Force circulation) เหมาะสำหรับการใช้ผลิตน้ำร้อนจำนวนมาก และมีการใช้อย่างต่อเนื่อง เช่น โรงแรม โรงพยาบาล และอุตสาหกรรมบางประเภท

3.การผลิตน้ำร้อนชนิดผสมผสาน
เป็นการนำเทคโนโลยีการผลิตน้ำร้อนจากแสงอาทิตย์มา ผสมผสานกับความร้อนเหลือทิ้งจากการระบายความร้อนของเครื่องทำความเย็น หรือเครื่องปรับอากาศ โดยผ่านอุปกรณ์แลกเปลี่ยนความร้อน
ระบบผสมผสาน
ระบบผสมผสาน ได้แก่ ระบบผลิตน้ำร้อนด้วยแสงอาทิตย์แบบผสมผสาน เป็นการนำเทคโนโลยีการผลิตน้ำร้อนจากแสงอาทิตย์มาผสมผสานกับความร้อนเหลือ ทิ้งจากการระบายความร้อนของเครื่องทำความเย็นหรือเครื่องปรับอากาศ โดยผ่านอุปกรณ์แลกเปลี่ยนความร้อน (Heat Exchanger) เพื่อลดขนาดพื้นที่แผงรับรังสีความร้อน และใช้ทรัพยากรที่มีอยู่อย่างคุ้มค่า ทั้งยังเป็นการลดปริมาณพลังงานไฟฟ้าหรือพลังงานเชิงพาณิชย์ในการผลิตน้ำร้อน ได้อีกด้วย
1.การผลิตน้ำร้อนชนิดไหลเวียนตามธรรมชาติ
เป็นการผลิตน้ำร้อนชนิดที่มีถังเก็บอยู่สูงกว่าแผงรับแสงอาทิตย์ ใช้หลักการหมุนเวียนตามธรรมชาติ
ชนิดไหลเวียนตามธรรมชาติ (Thermosiphon system) เป็นชนิดที่มีถังเก็บอยู่สูงกว่าแผงรับแสงอาทิตย์ ใช้หลักการหมุนเวียนตามธรรมชาติ เมื่อน้ำได้รับความร้อนจากแสงอาทิตย์จะมีความหนาแน่นน้อยลงจึงไหลขึ้นสู่ ด้านบนของถังน้ำเย็นจึงไหลเข้ามาแทนที่ เหมาะสำหรับการใช้ในที่อยู่อาศัย หรือมีปริมาณการใช้ไม่สูงมากนัก

2.การผลิตน้ำร้อนชนิดใช้ปั๊มน้ำหมุนเวียน
เหมาะสำหรับการใช้ผลิตน้ำร้อนจำนวนมาก และมีการใช้อย่างต่อเนื่อง
ชนิดใช้ปั๊มน้ำหมุนเวียน (Force circulation )
ชนิดใช้ปั๊มน้ำหมุนเวียน (Force circulation) เหมาะสำหรับการใช้ผลิตน้ำร้อนจำนวนมาก และมีการใช้อย่างต่อเนื่อง เช่น โรงแรม โรงพยาบาล และอุตสาหกรรมบางประเภท

3.การผลิตน้ำร้อนชนิดผสมผสาน
เป็นการนำเทคโนโลยีการผลิตน้ำร้อนจากแสงอาทิตย์มา ผสมผสานกับความร้อนเหลือทิ้งจากการระบายความร้อนของเครื่องทำความเย็น หรือเครื่องปรับอากาศ โดยผ่านอุปกรณ์แลกเปลี่ยนความร้อน
ระบบผสมผสาน
ระบบผสมผสาน ได้แก่ ระบบผลิตน้ำร้อนด้วยแสงอาทิตย์แบบผสมผสาน เป็นการนำเทคโนโลยีการผลิตน้ำร้อนจากแสงอาทิตย์มาผสมผสานกับความร้อนเหลือ ทิ้งจากการระบายความร้อนของเครื่องทำความเย็นหรือเครื่องปรับอากาศ โดยผ่านอุปกรณ์แลกเปลี่ยนความร้อน (Heat Exchanger) เพื่อลดขนาดพื้นที่แผงรับรังสีความร้อน และใช้ทรัพยากรที่มีอยู่อย่างคุ้มค่า ทั้งยังเป็นการลดปริมาณพลังงานไฟฟ้าหรือพลังงานเชิงพาณิชย์ในการผลิตน้ำร้อน ได้อีกด้วย
การเปลี่ยนแปลงพลังงานจากแสงอาทิตย์เป็นพลังงานทางไฟฟ้า
การเปลี่ยนแปลงพลังงานจากแสงอาทิตย์เป็นพลังงานทางไฟฟ้า แบ่ง 3 ระบบ ได้แก่

1. ระบบผลิตไฟฟ้าด้วยเซลล์แสงอาทิตย์แบบอิสระ (PV Stand alone system)
ระบบผลิตไฟฟ้าด้วยเซลล์แสงอาทิตย์แบบอิสระ ได้รับการออกแบบสาหรับใช้งานในพื้นที่ชนบทที่ไม่มีระบบจาหน่ายไฟฟ้าจาก National Grid โดยมีหลักการทางานแบ่งได้เป็น 2 ช่วงเวลา กล่าวคือ ช่วงเวลากลางวัน เซลล์แสงอาทิตย์ได้รับแสงแดดสามารถผลิตไฟฟ้าจ่ายให้แก่โหลดพร้อมทั้งประจุพลังงานไฟฟ้าส่วนเกินไว้ในแบตเตอรี่พร้อมๆ กัน ส่วนในช่วงกลางคืน เซลล์แสงอาทิตย์ไม่ได้รับแสงแดดจึงไม่สามารถผลิตไฟฟ้าได้ ดังนั้น พลังงานจากแบตเตอรี่ที่เก็บประจุไว้ในช่วงกลางวันจะถูกจ่ายให้แก่โหลด จึงสามารถกล่าวได้ว่า ระบบผลิตไฟฟ้าด้วยเซลล์แสงอาทิตย์แบบอิสระสามารถจ่ายกระแสไฟฟ้าให้โหลดได้ทั้งกลางวันและกลางคืน อุปกรณ์ระบบที่สาคัญประกอบด้วยแผงเซลล์แสงอาทิตย์ อุปกรณ์ควบคุมการประจุแบตเตอรี่ แบตเตอรี่ และอุปกรณ์เปลี่ยนระบบไฟฟ้ากระแสตรงเป็นไฟฟ้ากระแสสลับชนิดStand alone

2. ระบบผลิตไฟฟ้าด้วยเซลล์แสงอาทิตย์แบบต่อกับระบบจาหน่าย (PV Grid connected system)
เป็นระบบผลิตไฟฟ้าด้วยเซลล์แสงอาทิตย์ที่ถูกออกแบบสาหรับผลิตไฟฟ้าผ่านอุปกรณ์เปลี่ยนระบบไฟฟ้ากระแสตรงเป็นไฟฟ้ากระแสสลับเข้าสู่ระบบจาหน่ายไฟฟ้า National Grid โดยตรง มีหลักการทางานแบ่งเป็น 2 ช่วง กล่าวคือ ในช่วงเวลากลางวัน เซลล์แสงอาทิตย์ได้รับแสงแดดสามารถผลิตไฟฟ้าจ่ายให้แก่โหลดได้โดยตรง โดยผ่านอุปกรณ์เปลี่ยนระบบไฟฟ้ากระแสตรงเป็นไฟฟ้ากระแสสลับ และหากมีพลังงานไฟฟ้าส่วนที่เกินจะถูกจ่ายเข้าระบบจาหน่ายไฟฟ้า สังเกตได้เนื่องจากมิเตอร์วัดพลังงานไฟฟ้าจะหมุนกลับทาง ส่วนในช่วงกลางคืนเซลล์แสงอาทิตย์ไม่สามารถผลิตไฟฟ้าได้ กระแสไฟฟ้าจากระบบจาหน่ายไฟฟ้าจะจ่ายให้แก่โหลดโดยตรง สังเกตได้จากมิเตอร์วัดพลังงานไฟฟ้าจะหมุนปกติ ดังนั้น ระบบผลิตไฟฟ้าด้วยเซลล์แสงอาทิตย์แบบต่อกับระบบจาหน่ายจะเป็นการใช้งานเซลล์แสงอาทิตย์ผลิตไฟฟ้าในเขตเมืองหรือพื้นที่ที่มีระบบจาหน่ายไฟฟ้าเข้าถึง อุปกรณ์ระบบที่สาคัญประกอบด้วยแผงเซลล์แสงอาทิตย์ อุปกรณ์เปลี่ยนระบบไฟฟ้ากระแสตรงเป็นไฟฟ้ากระแสสลับชนิดต่อกับระบบจาหน่ายไฟฟ้า Grid connected เป็นต้น

3. ผลิตไฟฟ้าด้วยเซลล์แสงอาทิตย์แบบผสมผสาน (PV Hybrid system)
เป็นระบบผลิตไฟฟ้าด้วยเซลล์แสงอาทิตย์ที่ถูกออกแบบสาหรับทางานร่วมกับอุปกรณ์ผลิตไฟฟ้าอื่นๆ เช่น ระบบเซลล์แสงอาทิตย์กับพลังงานลมและเครื่องยนต์ดีเซล ระบบเซลล์แสงอาทิตย์กับพลังงานลมและไฟฟ้าพลังน้า เป็นต้น โดยรูปแบบระบบจะขึ้นอยู่กับการออกแบบตามวัตถุประสงค์โครงการเป็นกรณีเฉพาะ เช่น ระบบเซลล์แสงอาทิตย์กับพลังงานลมและเครื่องยนต์ดีเซล มีหลักการทางาน กล่าวคือ ในช่วงเวลากลางวัน เซลล์แสงอาทิตย์ได้รับแสงแดดสามารถผลิตไฟฟ้าได้ จะจ่ายกระแสไฟฟ้าผ่านอุปกรณ์เปลี่ยนระบบไฟฟ้ากระแสตรงเป็นไฟฟ้ากระแสสลับชนิด Multi function ทางานร่วมกับไฟฟ้าจากพลังงานลม จ่ายกระแสไฟฟ้าให้แก่โหลดพร้อมทั้งทางานประจุไฟฟ้าส่วนที่เกินไว้ในแบตเตอรี่ ในกรณีพลังงานลมต่าไม่สามารถผลิตไฟฟ้าหรือเวลากลางคืนไม่มีไฟฟ้าจากเซลล์แสงอาทิตย์ ชุดแบตเตอรี่จะจ่ายกระแสไฟฟ้าให้แก่โหลด และกรณีแบตเตอรี่จ่ายกระแสไฟฟ้ามากจนถึงพิกัดที่ออกแบบไว้ เครื่องยนต์ดีเซลจะทางานโดยอัตโนมัติเป็นอุปกรณ์สารองพลังงาน กล่าวคือจะจ่ายกระแสไฟฟ้าประจุแบตเตอรี่โดยตรงและแบ่งจ่ายให้แก่โหลดพร้อมกัน และหากโหลดมีมากเกินไประบบจะหยุดทางานทันที และจะทางานใหม่อีกครั้งเมื่อเซลล์แสงอาทิตย์หรือพลังงานลมสามารถผลิตกระแสไฟฟ้าประจุแบตเตอรี่ได้ปริมาณตามพิกัดที่ออกแบบไว้พร้อมทั้งขนาดโหลดอยู่ในพิกัดที่ชุดแบตเตอรี่สามารถจ่ายกระแสไฟฟ้าได้ มีกระบวนการต่างๆ

1. ระบบผลิตไฟฟ้าด้วยเซลล์แสงอาทิตย์แบบอิสระ (PV Stand alone system)
ระบบผลิตไฟฟ้าด้วยเซลล์แสงอาทิตย์แบบอิสระ ได้รับการออกแบบสาหรับใช้งานในพื้นที่ชนบทที่ไม่มีระบบจาหน่ายไฟฟ้าจาก National Grid โดยมีหลักการทางานแบ่งได้เป็น 2 ช่วงเวลา กล่าวคือ ช่วงเวลากลางวัน เซลล์แสงอาทิตย์ได้รับแสงแดดสามารถผลิตไฟฟ้าจ่ายให้แก่โหลดพร้อมทั้งประจุพลังงานไฟฟ้าส่วนเกินไว้ในแบตเตอรี่พร้อมๆ กัน ส่วนในช่วงกลางคืน เซลล์แสงอาทิตย์ไม่ได้รับแสงแดดจึงไม่สามารถผลิตไฟฟ้าได้ ดังนั้น พลังงานจากแบตเตอรี่ที่เก็บประจุไว้ในช่วงกลางวันจะถูกจ่ายให้แก่โหลด จึงสามารถกล่าวได้ว่า ระบบผลิตไฟฟ้าด้วยเซลล์แสงอาทิตย์แบบอิสระสามารถจ่ายกระแสไฟฟ้าให้โหลดได้ทั้งกลางวันและกลางคืน อุปกรณ์ระบบที่สาคัญประกอบด้วยแผงเซลล์แสงอาทิตย์ อุปกรณ์ควบคุมการประจุแบตเตอรี่ แบตเตอรี่ และอุปกรณ์เปลี่ยนระบบไฟฟ้ากระแสตรงเป็นไฟฟ้ากระแสสลับชนิดStand alone
2. ระบบผลิตไฟฟ้าด้วยเซลล์แสงอาทิตย์แบบต่อกับระบบจาหน่าย (PV Grid connected system)
เป็นระบบผลิตไฟฟ้าด้วยเซลล์แสงอาทิตย์ที่ถูกออกแบบสาหรับผลิตไฟฟ้าผ่านอุปกรณ์เปลี่ยนระบบไฟฟ้ากระแสตรงเป็นไฟฟ้ากระแสสลับเข้าสู่ระบบจาหน่ายไฟฟ้า National Grid โดยตรง มีหลักการทางานแบ่งเป็น 2 ช่วง กล่าวคือ ในช่วงเวลากลางวัน เซลล์แสงอาทิตย์ได้รับแสงแดดสามารถผลิตไฟฟ้าจ่ายให้แก่โหลดได้โดยตรง โดยผ่านอุปกรณ์เปลี่ยนระบบไฟฟ้ากระแสตรงเป็นไฟฟ้ากระแสสลับ และหากมีพลังงานไฟฟ้าส่วนที่เกินจะถูกจ่ายเข้าระบบจาหน่ายไฟฟ้า สังเกตได้เนื่องจากมิเตอร์วัดพลังงานไฟฟ้าจะหมุนกลับทาง ส่วนในช่วงกลางคืนเซลล์แสงอาทิตย์ไม่สามารถผลิตไฟฟ้าได้ กระแสไฟฟ้าจากระบบจาหน่ายไฟฟ้าจะจ่ายให้แก่โหลดโดยตรง สังเกตได้จากมิเตอร์วัดพลังงานไฟฟ้าจะหมุนปกติ ดังนั้น ระบบผลิตไฟฟ้าด้วยเซลล์แสงอาทิตย์แบบต่อกับระบบจาหน่ายจะเป็นการใช้งานเซลล์แสงอาทิตย์ผลิตไฟฟ้าในเขตเมืองหรือพื้นที่ที่มีระบบจาหน่ายไฟฟ้าเข้าถึง อุปกรณ์ระบบที่สาคัญประกอบด้วยแผงเซลล์แสงอาทิตย์ อุปกรณ์เปลี่ยนระบบไฟฟ้ากระแสตรงเป็นไฟฟ้ากระแสสลับชนิดต่อกับระบบจาหน่ายไฟฟ้า Grid connected เป็นต้น
3. ผลิตไฟฟ้าด้วยเซลล์แสงอาทิตย์แบบผสมผสาน (PV Hybrid system)
เป็นระบบผลิตไฟฟ้าด้วยเซลล์แสงอาทิตย์ที่ถูกออกแบบสาหรับทางานร่วมกับอุปกรณ์ผลิตไฟฟ้าอื่นๆ เช่น ระบบเซลล์แสงอาทิตย์กับพลังงานลมและเครื่องยนต์ดีเซล ระบบเซลล์แสงอาทิตย์กับพลังงานลมและไฟฟ้าพลังน้า เป็นต้น โดยรูปแบบระบบจะขึ้นอยู่กับการออกแบบตามวัตถุประสงค์โครงการเป็นกรณีเฉพาะ เช่น ระบบเซลล์แสงอาทิตย์กับพลังงานลมและเครื่องยนต์ดีเซล มีหลักการทางาน กล่าวคือ ในช่วงเวลากลางวัน เซลล์แสงอาทิตย์ได้รับแสงแดดสามารถผลิตไฟฟ้าได้ จะจ่ายกระแสไฟฟ้าผ่านอุปกรณ์เปลี่ยนระบบไฟฟ้ากระแสตรงเป็นไฟฟ้ากระแสสลับชนิด Multi function ทางานร่วมกับไฟฟ้าจากพลังงานลม จ่ายกระแสไฟฟ้าให้แก่โหลดพร้อมทั้งทางานประจุไฟฟ้าส่วนที่เกินไว้ในแบตเตอรี่ ในกรณีพลังงานลมต่าไม่สามารถผลิตไฟฟ้าหรือเวลากลางคืนไม่มีไฟฟ้าจากเซลล์แสงอาทิตย์ ชุดแบตเตอรี่จะจ่ายกระแสไฟฟ้าให้แก่โหลด และกรณีแบตเตอรี่จ่ายกระแสไฟฟ้ามากจนถึงพิกัดที่ออกแบบไว้ เครื่องยนต์ดีเซลจะทางานโดยอัตโนมัติเป็นอุปกรณ์สารองพลังงาน กล่าวคือจะจ่ายกระแสไฟฟ้าประจุแบตเตอรี่โดยตรงและแบ่งจ่ายให้แก่โหลดพร้อมกัน และหากโหลดมีมากเกินไประบบจะหยุดทางานทันที และจะทางานใหม่อีกครั้งเมื่อเซลล์แสงอาทิตย์หรือพลังงานลมสามารถผลิตกระแสไฟฟ้าประจุแบตเตอรี่ได้ปริมาณตามพิกัดที่ออกแบบไว้พร้อมทั้งขนาดโหลดอยู่ในพิกัดที่ชุดแบตเตอรี่สามารถจ่ายกระแสไฟฟ้าได้ มีกระบวนการต่างๆ
ความหมายหลักการทางานของพลังงานแสงอาทิตย์

Solar Energy
Solar Energy
Solar Energy หมายถึง พลังงานที่ได้จากแสงอาทิตย์ หรือ การใช้พลังงานจากแสงอาทิตย์ให้เกิดประโยชน์
หลักการทางานของ Solar Energy คือ อาศัยความเข้มของแสงจากดวงอาทิตย์ และอุณหภูมิเป็นหลัก คือ
หากความเข้ม+อุณหภูมิที่สูงมากก็จะสามารถเปลี่ยนเป็นพลังงานได้มาก ในทางเดียวกันหากความเข้ม+อุณหภูมิน้อย
ก็จะเปลี่ยนเป็นพลังงานได้น้อย

ชนิดของ
Solar Energy สามารถแบ่งได้ตามรูปแบบการใช้งานได้ 3 ชนิด คือ
1.การเปลี่ยนพลังงานจากแสงอาทิตย์ให้เป็นพลังงานทางไฟฟ้า,
2.การเปลี่ยนพลังงานจากแสงอาทิตย์ให้เป็นพลังงานทางความร้อน,
3.ทำความเย็นด้วยพลังงานแสงอาทิตย์
หลักการทำงาน
การใช้งานทั่วไปของเซลล์แสงอาทิตย์ โครงสร้างของเซลล์แสงอาทิตย์ที่นิยมใช้กันมากที่สุดได้แก่ รอยต่อพีเอ็นของสารกึ่งตัวนำ ซึ่งวัสดุสารกึ่งตัวนำที่ราคาถูกที่สุดและมรมากที่สุดบนพื้นที่โลกได้แก่ ซิลิคอน ซึ่งถลุงได้จากควอตไซต์หรือทราย และผ่านขั้นตอนการทำให้บริสุทธิ์ตลอดจนการทำให้เป็นผลึก

เซลล์แสงอาทิตย์หนึ่งแผ่นอาจมีรูปร่างเป็นแผ่นวงกลม (เส้นผ่าศูนย์กลาง 5 นิ้ว) หรือแผ่นสี่เหลี่ยมจัตุรัส (ด้านละ 5 นิ้ว) มีความหนา 200 - 400 ไมครอน (ประมาณ 0.2 - 0.4 มิลลิเมตร) และต้องนำมาผ่านกระบวนการแพร่ซึมสารเจือปนในเตาอุณหภูมิสูงเพื่อสร้าง รอยต่อพีเอ็น ขั้วไฟฟ้าด้านหลังเป็นผิวสัมผัสโลหะเต็มหน้าส่วนขั้วไฟฟ้าด้านหน้าที่รับแสง จะมีลักษณะเป็นลายเส้นคล้ายก้างปลา

ชนิดของเซลล์แสงอาทิตย์

1. เซลล์แสงอาทิตย์ชนิดผลึกเดี่ยวซิลิคอน (Single Crystalline Silicon Solar Cell) และ ชนิดผลึกโพลีซิลิคอน (Polycrystalline Silicon Solar Cell) ประเทศไทยนำเข้าเซลล์แสงอาทิตย์ชนิดผลึกเดี่ยวซิลิคอนมาใช้งานมากที่สุด ข้อดีคือ ใช้ธาตุซิลิคอนซึ่งมีมากที่สุดในโลกและมีราคาถูกเป็นวัตถุดิบ
2. เซลล์แสงอาทิตย์ชนิดฟิล์มบางอะมอร์ฟัสซิลิคอน (Amorphous Silicon Solar Cell) ได้แก่ เซลล์แสงอาทิตย์ที่ใช้ในเครื่องคิดเลข ซึ่งมีลักษณะสีม่วงน้ำตาล มีความบางเบา
3. เซลล์แสงอาทิตย์ชนิดผลึกแกลเลียมอาร์เซไนดิ (Gallium Arsenide Solar Cell) เป็นเซลล์แสงอาทิตย์ที่มีประสิทธิภาพสูงระดับร้อยละ 25 ขึ้นไป แต่มีราคาแพงมาก ไม่นิยมนำมาใช้งานบนพื้นโลกจึงใช้งานสำหรับดาวเทียม เป็นส่วนมาก ขั้นตอนการผลิตแผงเซลล์แสงอาทิตย์ ชนิดผลึกโพลีซิลิคอน
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)